สรุป ชนิด ของ คำ - สรุป ชนิดของคํา Pdf

โน้ตของ ชนิดและหน้าที่ของคำในภาษาไทย - Clearnote เข้าสู่ระบบ เผยแพร่เมื่อ 17/07/2018 22:53 แก้ไขเมื่อ 10/03/2022 21:35 ข้อมูล fernuary` ถ้าคิดว่าโน้ตนี้มีประโยชน์ ก็กดติดตามผู้เขียนเพื่อรับแจ้งเตือนเมื่อมีโน้ตใหม่ ๆ มาได้เลย! ความคิดเห็น สมุดโน้ตแนะนำ คำถามที่เกี่ยวข้องกับโน้ตสรุปนี้

  1. สรุปชนิดของคำในภาษาไทยอย่างง่าย Flipbook PDF | DOKUMENT.PUB
  2. โน้ตของ ชนิดและหน้าที่ของคำในภาษาไทย - Clearnote
  3. English So Easy : Part of speech ชนิดของคำ คืออะไร..? มีหน้าที่อย่างไร..?
  4. สรุป ชนิดของคํา pdf
  5. ชีทสรุปภาษาไทย ม. 1 ชนิดของคำ
  6. สรุป ชนิดของคํา
Conjunctions คำสันธาน คือ คำที่ใช้เชื่อมประโยคเข้าด้วยกัน เช่น and, but, or, because ฯลฯ 8. Interjections คำอุทาน คือ คำที่เปล่งเสียงออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึก เช่น Arg! Oops! Ow! Oh! Wow! ฯลฯ Part of speech ชนิดของคำแต่ละชนิดนั้น มีหน้าที่แตกต่างกันออกไป ไม่เหมือนกัน อีกทั้ง คำบางชนิด ยังแบ่งแยกย่อยออกไปอีกหลายกลุ่ม หลายประเภท และคำบางคำก็ยังทำหน้าที่มากกว่า 1 ชนิด เราจำเป็นต้องรู้และจำให้ได้ว่า คำแต่ละคำนั้น เป็นคำชนิดใด มีหน้าที่อย่างไร มิฉะนั้น เราก็ไม่สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ซึ่งตรงนี้ ก็ได้แยกอธิบายเพิ่มเติมไว้อย่างละเอียด ในแต่ละชนิดของคำ..

สรุปชนิดของคำในภาษาไทยอย่างง่าย Flipbook PDF | DOKUMENT.PUB

สรุปชนิดของคำในภำษำไทยอย่ำงง่ำย รำยวิชำภำษำไทย อ้ำงอิงตำมหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้นพื้นฐำนพุทธศักรำช ๒๕๕๑ ออกแบบและจัดทำโดย นำยเศรษฐทวี ทองแพง (เศรษฐ์) รหัสนักศึกษำ 62128101039 กำรศึกษำ กำลังศึกษำในระดับปริญญำตรี คณะครุศำสตร์ สำขำวิชำภำษำไทย มหำวิทยำลัยรำชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมรำชูปถัมภ์ วิทยำเขตปทุมธำนี จัดนำเสนอในรำยวิชำ ETP206 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรสื่อสำร กำรศึกษำและกำรเรียนรู้ อำจำรย์ผู้สอน นำยมหำชำติ อินทโชติ ชนิดของคำในภำษำไทยมีทั้ง ๗ ชนิด ๑. คำนำม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ และสถำนที่ ๒. คำสรรพนำม คือ คำที่ใช้เรียกแทนชื่อคน สัตว์ สิ่งของ และสถำนที่ ๓. คำกริยำ คือ คำที่ใช้แสดงอำกำร หรือ กำรกระทำ ๔. คำวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ขยำยคำนำม สรรพนำม กริยำ หรือคำวิเศษณ์ ๕. คำบุพบท คือ คำที่เชื่อมคำหรือกลุ่มคำให้สัมพันธ์กัน ๖. คำสันธำน คือ คำที่ใช้เชื่อมประโยคหรือข้อควำมกับข้อควำม ๗. คำอุทำน คือ คำที่ใช้แสดงอำรมณ์ต่ำง ๆ คานาม ความหมายของคานาม คำนำมหมำยถึง คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถำนที่ สภำพ อำกำร ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนำมธรรม ชนิดของคานาม คานามแบ่งออกเป็น ๕ ชนิด ดังนี้ ๑.

คาสันธานที่เชื่อมความคล้อยตามกัน ได้แก่คำว่ำ และ ทั้ง... และ ทั้ง... ก็ ครั้น... จึง ก็ดี เมื่อ... ก็ว่ำ พอ... แล้ว เช่น - ทั้งพ่อและแม่ของผมเป็นคนใต้ ๒. คาสันธานที่เชื่อมความขัดแย้งกัน เช่นคำว่ำ แต่ แต่ว่ำ กว่ำ... ก็ ถึง... ก็ เป็นต้น เช่น - ผมต้องกำรพูดกับเขำ แต่เขำไม่ยอมพูดกับผม ๓. คาสันธานที่เชื่อมข้อความให้เลือก ได้แก่คำว่ำ หรือ หรือไม่ ไม่... ก็ หรือไม่ก็ ไม่เช่นนั้น มิฉะนั้น... ก็ เป็นต้น เช่น - นักเรียนชอบเรียนวิชำคณิตศำสตร์หรือภำษำไทย ๔ คาสันธานที่เชื่อมความที่เป็นเหตุเป็นผล ได้แก่คำว่ำ เพรำะ เพรำะว่ำ ฉะนั้น... จึง ดังนั้น เหตุเพรำะ เหตุว่ำ เพรำะฉะนั้น... จึง เป็นต้น เช่น - นักเรียนมำโรงเรียนสำยเพรำะฝนตกหนัก ความหมายของคาอุทาน คำอุทำน หมำยถึง คำที่แสดงอำรมณ์ของผู้พูดในขณะที่ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลำดใจ หรืออำจจะเป็นคำที่ใช้เสริมคำพูด เช่นคำ ว่ำ อุ๊ย เอ๊ะ ว้ำย โธ่ อนิจจำ อ๋อ เป็นต้น ชนิดของคาอุทาน คาอุทานแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑. คาอุทานบอกอาการ เป็นคำอุทำนที่แสดงอำรมณ์ และควำมรู้สึกของผู้พูด เช่น ตกใจ ใช้คำว่ำ วุ้ย ว้ำย แหม ตำยจริง ประหลำดใจ ใช้คำว่ำ เอ๊ะ หือ หำ ๒. คาอุทานเสริมบท เป็นคำอุทำนที่ใช้เป็นคำสร้อยหรือคำเสริมบทต่ำงๆ คำอุทำนประเภทนี้บำงคำเสริมคำที่ไม่มีควำมหมำยเพื่อยืดเสียงให้ยำวออกไป บำงคำก็เพื่อ เน้นคำให้กระชับหนักแน่น เช่น - เดี๋ยวนี้มือไม้ฉันมันสั่นไปหมด ขอบคุณครับ/ค่ะ ทำงผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำท่ำนจะได้ ควำมรู้เรื่อชนิดคำไม่ได้มำกได้น้อย และสำมำรถ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำได้อย่ำงเหมำะสม

  • สรุป ชนิดของคํา pdf
  • หวยเจ้ฟองเบียร์ 1 10 64 game
  • ผ้า ปิด ตา mui ne
  • ชีทสรุปภาษาไทย ม. 1 ชนิดของคำ